แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561 – 2565) ขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสะอาด อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
2.8 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม
ความเชื่อมโยงและตอบสนองต่อแนวทางการพัฒนาประเทศ
ขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสะอาดแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 -2565)
ความเชื่อมโยงและตอบสนองต่อแนวทางการพัฒนาประเทศ
ขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสะอาดแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 -2565)
ยุทธศาสตร์หลัก
1. ด้านความมั่นคง 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6 .ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ |
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
๑. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ๒. การสร้างความเป็นธรรมลดและความเหลื่อมล้ำในสังคม ๓. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ๔. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๕. การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ๖. การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย ๗. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ๘. การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ๙.การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ๑๐. ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา |
แนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1. บริหารจัดการน้ำให้เพียงพอต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน 2. แก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อย เพื่อลดความเลื่อมล้ำทางสังคม 3. สร้างความเข้มแข็งของฐานเศรษฐกิจภายใน ควบคู่กับการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ 5. ใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งที่เชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจหลักภาค กลาง และพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เพื่อพัฒนาเมือง และพื้นที่ เศรษฐกิจใหม่ๆ ของเมือง 6. พัฒนาความร่วมมือและใช้ประโยชน์จากข้อตกลงกับประเทศเพื่อนบ้านในการสร้าง ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและแนวระเบียบเศรษฐกิจ |
เป้าหมายการพัฒนา : ศูนย์กลางเกษตรอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ไหม ท่องเที่ยวอารยธรรมขอม และการค้าชายแดน
1. การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันเกษตรอุตสาหกรรมและแปรรูป 2. การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมและ ผลิตภัณฑ์ไหม 3. การส่งเสริมและพัฒนาการค้าการลงทุน และการค้าชายแดน |
เป้าหมายการพัฒนา: ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมและกีฬามาตรฐานโลก เศรษฐกิจมั่นคง สังคมเข้มแข็ง
1. ด้านเศรษฐกิจ “เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอมกีฬามาตรฐานโลก และการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้พื้นฐานของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย” 2. ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต “คนบุรีรัมย์มีคุณภาพชีวิตที่ดี มั่นคง ยั่งยืน บนพื้นฐาน ความพอเพียง” 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม “ทรัพยากรธรรมชาติสร้างสรรค์ชีวิตและ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” 4. ด้านรักษาความมั่นคงและความสงบ “บุรีรัมย์สงบสุข” |
แนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ.2560 – 2564) |
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 (พ.ศ.2561-2565) |
|